วันอาทิตย์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2553

ขอให้เพื่อนๆ ครู ญาติและผู้มีเกียรติทั้งหลายร่วมประเมินผลงาน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนนขอขอบคุณทุกท่าน

O-Net




คำอธิบาย

โปรตีน (อังกฤษ: protein) เป็นสารอินทรีย์ซึ่งพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีโครงสร้างซับซ้อนและมีมวลโมเลกุลมาก โปรตีนมีหน่วยย่อยคือ กรดอะมิโน เรียงต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ โปรตีนมีหน้าที่สำคัญต่อโครงสร้างและกิจกรรมภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุก ชนิด รวมทั้งไวรัสด้วย โปรตีนในอาหารนั้นเป็นแหล่งของกรดอะมิโน ให้แก่สิ่งมีชีวิตแต่ไม่สามารถสังเคราะห์กรดอะมิโนเหล่านั้นได้เอง

โปรตีน เป็นหนึ่งในมหโมเลกุล (macromolecules) เช่นเดียวกันกับโพลีแซคาไรด์ (คาร์โบไฮเดรต) และกรดนิวคลีอิก (สารพันธุกรรม) ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โปรตีนถูกค้นพบครั้งแรกโดย Jöns Jacob Berzelius ในปี พ.ศ. 2381 (ค.ศ. 1838)
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/โปรตีน
คำตอบ ข้อ 4









คำอธิบาย
ไอโอดีน เป็นธาตุในหมู่ 7 ของตารางธาตุ มีน้ำหนักอะตอม 126.9 มีอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติ พบใน หิน ดิน น้ำ น้ำทะเล อากาศ และสิ่งมีชีวิต มีปริมาณมากน้อยที่แตกต่างกัน อาหารทะเลจะมีไอโอดีนสูงกว่าแหล่งอื่น ในธรรมชาติ มักพบในรูปเกลือ ไอโอเดต ( KIO3 ) และในรูปไอโอไดด์ หรือเป็นสารประกอบอินทรีย์ ในสิ่งมีชีวิต เช่น ในเลือด เนื้อเยื่อ น้ำนม เหงื่อ และปัสสาวะ

ไอโอดีนถูกนำมาใช้ครั้งแรกในการฆ่าเชื้อโรคในรูป ของทิงเจอร์ ( Tincture of iodine ) ร่างกายของคนเราใช้ไอโอดีนในรูป ไอโอไดด์ เพื่อสร้างไทรอยด์ฮอร์โมนในต่อมไทรอยด์ โดยไอโอไดด์ถูกออกซิไดซ์แล้วสร้างพันธะกับไทโรโกลบูลิน (Thyroglobulin ) ได้ไทโรซิน (Thyrosine ,T3 ) และไทรอกซิน ( Thyroxine ,T4) ดังรูป

ไทรอยด์ ฮอร์โมน เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะไปช่วยควบคุมการเผาผลาญสารอาหารเพื่อให้พลังงานแก่ ร่างกาย ช่วยการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทอัตโนมัติ
ถ้า ขาดสารไอโอดีน จะทำให้หญิงมีครรภ์แท้งบุตร เด็กคลอดออกมาไม่สมประกอบ พัฒนาการช้า ปัญญาอ่อน ระบบประสาทไม่ดี ทำให้เป็นง่อย หูหนวกเป็นใบ้ แคระแกร็น ในผู้ใหญ่ถ้าขาดไอโอดีน เป็นเวลานานจะเป็นโรคเอ๋อ และคอหอยพอก ( Goiter ; hypothyroidism )
ถ้ารับประทานเกินประมาณวันละ 2,000 ส่วนในล้านส่วนเป็นเวลานาน ทำให้เกิดโรคคอหอยพอกเป็นพิษ( Hyperthyroidism ; Grave' s disease ) มีอาการเหนื่อยง่าย ผอมผิดปกติ บริโภคโดยตรงในครั้งเดียวประมาณ 2 กรัม ทำให้ปวดท้อง คลื่นเหียน อาเจียน ท้องร่วง เกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ปอดอักเสบ ไตวาย หมดสติ และตาย ไอที่ความเข้มข้นเกิน 0.1 ส่วนในล้านส่วน เมื่อสัมผัสเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดการระคายเคืองตาและระบบหายใจ ( อุดมเกียรติ , วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์:2539 )
WHO / ICCIDD / UNICEF ( 1993 ) แนะนำปริมาณไอโอดีนที่ร่างกายควรได้รับคือ 150 ไมโครกรัม /คน / วัน ในหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 25 และ 50 ไมโครกรัม ตามลำดับ ทารกอายุ 0-6 เดือนควรได้รับ 40 ไมโครกรัม / วัน ( องค์การอนามัยโลก )
ประเทศไทยพบปัญหาประชากรเป็นโรคขาดสารไอโอดีนมาก ( Iodine deficiency disorders, IDD ) แถบภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และที่ห่างไกลทะเล ปัจจุบัน มีการส่งเสริมให้บริโภคสาหร่ายทะเล คุกกี้ ขนมอบกรอบ ผสมสาหร่ายทะเลผมนาง มีการเสริมโพแทสเซียมไอโอไดด์ ( KI ) และโพแทสเซียมไอโอเดต ( KIO3 ) ในอาหาร น้ำ เครื่องดื่ม และ เกลือบริโภค เป็นต้น เพื่อแก้ปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน
ที่มา http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/IODINE.HTM
คำตอบ ข้อ 1














คำอธิบาย
1. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid) เป็นกรดไขมันที่พันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนกับคาร์บอนยึดเหนี่ยวด้วยพันธะ เดี่ยวทั้งหมด มีสูตรทั่วไปเป็น CnH2nO2 หรือ CnH2n+1COOH หรือเขียนสูตรได้เป็น CH3(CH2)nCOOH เช่น กรดไขมันอิ่มตัวที่มีจำนวนอะตอมคาร์บอน 18 อะตอม จะมีสูตรทั่วไปเป็น C18H36O2 ซึ่งเขียนสูตรดังนี้



CH3(CH2)16COOH หรือ C17H35COOH

กรดไขมันอิ่มตัวที่พบมากที่สุด ได้แก่ กรดปาล์มิติก (palmitic acid) และกรดสเตียริก (stearic acid)

2. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid) เป็นกรดไขมันที่พันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนกับคาร์บอนยึดเหนี่ยวด้วยพันธะคู่ อย่างน้อย 1 พันธะ ซึ่งมีจำนวนอะตอมคาร์บอนน้อยกว่ากรดไขมันอิ่มตัว 2 อะตอม มีสูตรทั่วไปเป็น CnH2n–2O2 หรือ CnH2n–1COOH หรือเขียนสูตรได้เป็น CH3(CH2)yCH=CH(CH2)xCOOH เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่มีจำนวนอะตอมคาร์บอน 18 อะตอม มีพันธะคู่ที่คาร์บอนตำแหน่ง 9–10 จะมีสูตรทั่วไปเป็น C18H34O2 ซึ่งเขียนสูตรดังนี้


CH3(CH2)7CH=CH(CH2)7COOH หรือ C17H33COOH



กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบมากที่สุด ได้แก่ กรดโอเลอิก (oleic acid) และกรดไลโนเลอิก (linoleic acid)

ไขมัน และน้ำมันที่ได้จากสัตว์และพืชประกอบด้วยของผสมของกรดไขมันหลายชนิด ของผสมที่มีร้อยละของกรดไขมันอิ่มตัวสูงจะเป็นของแข็ง ก็คือเป็นไขมัน เช่น ไขวัว แต่ถ้ามีร้อยละของกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงก็จะเป็นน้ำมัน เช่น น้ำมันพืช
ที่มา http://www.promma.ac.th/chemistry/boonrawd_site/kind_of_fattyacid.htm
คำตอบ ข้อ 4





คำอธิบาย
กรด อะมิโน (อังกฤษ: amino acid) คือ ชีวโมเลกุลที่มีทั้งหมู่ฟังก์ชันอะมิโนและคาร์บอกซิลเป็นส่วนประกอบ กรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญที่มีอยู่ใน สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ในวิชาชีวเคมี คำว่า "กรดอะมิโน" มักหมายความถึงกรดอะมิโนแบบแอลฟา (alpha animo acids) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่ทั้งหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิลติดอยู่กับคาร์บอน อะตอมเดียวกัน เรียกว่า α-คาร์บอน

เรซิดีวของกรดอะมิโน (amino acid residue) คือกรดอะมิโนที่ถูกดึงโมเลกุลของน้ำออกไปหนึ่งโมเลกุล (ไฮโดรเจนไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่อะมิโน และไฮดรอกไซด์ไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่คาร์บอกซิล) เรซิดีวของกรดมักเกิดขึ้นในขณะสร้างพันธะเปปไทด์
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/กรดอะมิโน
คำตอบ ข้อ 3





คำอธิบาย
โครโมโซม (chromosome) ประกอบด้วยสารประกอบชีวภาพ (biological compound) 2 ชนิด คือ โปรตีนฮีสโตน และกรดนิวคลีอิกที่มีชื่อว่า กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) หรือ DNA

เมื่อโปรตีนอยู่รวมกับกรด นิวคลีอิก เราเรียกว่า นิวคลีโอโปรตีน กรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิกหรือ DNA และกรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid) หรือ RNA หน่วยโครงสร้างย่อยของกรดนิวคลีอิก คือ มอโนนิวคลีโอไทด์ (mononucleotide)

มอโนนิวคลีโอไทด์หลายๆหน่วยมาต่อกันเป็นสายยาวของ พอลินิวคลีโอไทด์ (polynucleotide) ด้วยพันธะ3',5'-ฟอสโฟไดเอสเตอร์ (3',5'-phosphodiester bond) สายยาวของพอลินิวคลีโอไทด์ไม่มีการแตกกิ่งก้านสาขาจึงเป็น linear polymer และ unbranched polymer
ที่มา http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/veterin/vet69/NUCLEIC_DREAMMX/S-01.htm
คำตอบ ข้อ 2

วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข้อสอบสารชีวโมเลกุล

1. http://gotoknow.org/blog/kroonit/157040

2. http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2546/4-7/no08/test01/index.html

3. http://www.trueplookpanya.com/true/examination_display.php?exam_id=247

4. http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/science/scienceteachers/nittaya/ex/morakultest.html

5. http://www.curadio.chula.ac.th/program-og/classonair/doc52/ch-2009-12-18.pdf
วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553Links
เอสเทอร์
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet5/topic8/ester.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C


ลิพิด
http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/pansre002/section3_p01.html
http://nakhamwit.ac.th/pingpong_web/biochem_web/Lipid.htm


ฮอร์โมน
http://www.bs.ac.th/lab2000/web_bio/hor.htm
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%99


น้ำมันปาล์ม
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%8C%E0%B8%A1


น้ำมันถั่วเหลือง
http://guru.sanook.com/pedia/topic/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/


น้ำมันมะกอก
http://www.rspg.or.th/experimental_project/olive/olive15.htm


จุดหลอมเหลว
http://th.wikipedia.org/wiki/จุดหลอมเหลว
http://www.promma.ac.th/e-learn/start_melt-boiling1.html

วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553

กรดไขมันอิ่มตัว คือ ไขมันที่เป็นไขมันเต็มตัว คือ ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนจับกันเป็นลูกโซ่โดย สมบูรณ์ และไม่มีช่องว่างเหลือที่จะทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย พบมากในพวกไขมันสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว และไขมันจากกะทิ มะพร้าว เนย และไข่แดง

กรดไขมันส่วนมากมีจำนวน C อะตอม C12 - C18 ชนิดที่มีจำนวน C อะตอมน้อยกว่า 12 ได้แก่ กรดบิวทาโนอิก C3H7COOH ที่พบในเนย กรดไขมันไม่ละลายน้ำ กรดไขมันจะมีจุดเดือดและจุด หลอมเหลวสูงขึ้นตามจำนวนคาร์บอนอะตอมที่เพิ่มขึ้น และกรดไขมันอิ่มตัวมีจุดเดือดสูงกว่า กรดไขมันไม่อิ่มตัว ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ถ้าเป็นกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะเป็นไขมัน เช่น กรดลอริก (C12) กรดไมริสติก (C14) กรดปาล์มิติก (C16) กรดสเตียริก (C18)

กรดไขมันอิ่มตัว คือกรดไขมันที่ไม่มีพันธะคู่ (double bond) หรือ หมู่ฟังก์ชัน (functional group) อื่นๆ ตามสายโซ่เลย คำว่าอิ่มตัวหมายถึง ไฮโดรเจนในที่ซึ่งคาร์บอน (ที่เป็นส่วนของคาร์บอกซิลิก แอซิด-COOHกรุ๊ป) มีไฮโดรเจนเกาะอยู่มากที่สุดที่จะเป็นไปได้ หรืออีกนัยหนึ่งคือที่ปลายโอเมก้าจะมี 3 ไฮโดรเจน (CH3-) และแต่ละคาร์บอนในสายโซ่จะมี 2 ไฮโดรเจน (-CH2-)

กรดไขมันอิ่มตัว คือ ไขมันที่เป็นไขมันเต็มตัว คือ ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนจับกันเป็นลูกโซ่โดย สมบูรณ์ และไม่มีช่องว่างเหลือที่จะทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย พบมากในพวกไขมันสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว และไขมันจากกะทิ มะพร้าว เนย และไข่แดง

กรดไขมันส่วนมากมีจำนวน C อะตอม C12 - C18 ชนิดที่มีจำนวน C อะตอมน้อยกว่า 12 ได้แก่ กรดบิวทาโนอิก C3H7COOH ที่พบในเนย กรดไขมันไม่ละลายน้ำ กรดไขมันจะมีจุดเดือดและจุด หลอมเหลวสูงขึ้นตามจำนวนคาร์บอนอะตอมที่เพิ่มขึ้น และกรดไขมันอิ่มตัวมีจุดเดือดสูงกว่า กรดไขมันไม่อิ่มตัว ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ถ้าเป็นกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะเป็นไขมัน เช่น กรดลอริก (C12) กรดไมริสติก (C14) กรดปาล์มิติก (C16) กรดสเตียริก (C18)

กรดไขมันอิ่มตัว คือกรดไขมันที่ไม่มีพันธะคู่ (double bond) หรือ หมู่ฟังก์ชัน (functional group) อื่นๆ ตามสายโซ่เลย คำว่าอิ่มตัวหมายถึง ไฮโดรเจนในที่ซึ่งคาร์บอน (ที่เป็นส่วนของคาร์บอกซิลิก แอซิด-COOHกรุ๊ป) มีไฮโดรเจนเกาะอยู่มากที่สุดที่จะเป็นไปได้ หรืออีกนัยหนึ่งคือที่ปลายโอเมก้าจะมี 3 ไฮโดรเจน (CH3-) และแต่ละคาร์บอนในสายโซ่จะมี 2 ไฮโดรเจน (-CH2-)

กรดไขมันอิ่มตัว คือ ไขมันที่เป็นไขมันเต็มตัว คือ ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนจับกันเป็นลูกโซ่โดย สมบูรณ์ และไม่มีช่องว่างเหลือที่จะทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย พบมากในพวกไขมันสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว และไขมันจากกะทิ มะพร้าว เนย และไข่แดง

กรดไขมันส่วนมากมีจำนวน C อะตอม C12 - C18 ชนิดที่มีจำนวน C อะตอมน้อยกว่า 12 ได้แก่ กรดบิวทาโนอิก C3H7COOH ที่พบในเนย กรดไขมันไม่ละลายน้ำ กรดไขมันจะมีจุดเดือดและจุด หลอมเหลวสูงขึ้นตามจำนวนคาร์บอนอะตอมที่เพิ่มขึ้น และกรดไขมันอิ่มตัวมีจุดเดือดสูงกว่า กรดไขมันไม่อิ่มตัว ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ถ้าเป็นกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะเป็นไขมัน เช่น กรดลอริก (C12) กรดไมริสติก (C14) กรดปาล์มิติก (C16) กรดสเตียริก (C18)

กรดไขมันอิ่มตัว คือกรดไขมันที่ไม่มีพันธะคู่ (double bond) หรือ หมู่ฟังก์ชัน (functional group) อื่นๆ ตามสายโซ่เลย คำว่าอิ่มตัวหมายถึง ไฮโดรเจนในที่ซึ่งคาร์บอน (ที่เป็นส่วนของคาร์บอกซิลิก แอซิด-COOHกรุ๊ป) มีไฮโดรเจนเกาะอยู่มากที่สุดที่จะเป็นไปได้ หรืออีกนัยหนึ่งคือที่ปลายโอเมก้าจะมี 3 ไฮโดรเจน (CH3-) และแต่ละคาร์บอนในสายโซ่จะมี 2 ไฮโดรเจน (-CH2-)

กรดไขมันอิ่มตัว คือ ไขมันที่เป็นไขมันเต็มตัว คือ ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนจับกันเป็นลูกโซ่โดย สมบูรณ์ และไม่มีช่องว่างเหลือที่จะทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย พบมากในพวกไขมันสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว และไขมันจากกะทิ มะพร้าว เนย และไข่แดง

กรดไขมันส่วนมากมีจำนวน C อะตอม C12 - C18 ชนิดที่มีจำนวน C อะตอมน้อยกว่า 12 ได้แก่ กรดบิวทาโนอิก C3H7COOH ที่พบในเนย กรดไขมันไม่ละลายน้ำ กรดไขมันจะมีจุดเดือดและจุด หลอมเหลวสูงขึ้นตามจำนวนคาร์บอนอะตอมที่เพิ่มขึ้น และกรดไขมันอิ่มตัวมีจุดเดือดสูงกว่า กรดไขมันไม่อิ่มตัว ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ถ้าเป็นกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะเป็นไขมัน เช่น กรดลอริก (C12) กรดไมริสติก (C14) กรดปาล์มิติก (C16) กรดสเตียริก (C18)

กรดไขมันอิ่มตัว คือกรดไขมันที่ไม่มีพันธะคู่ (double bond) หรือ หมู่ฟังก์ชัน (functional group) อื่นๆ ตามสายโซ่เลย คำว่าอิ่มตัวหมายถึง ไฮโดรเจนในที่ซึ่งคาร์บอน (ที่เป็นส่วนของคาร์บอกซิลิก แอซิด-COOHกรุ๊ป) มีไฮโดรเจนเกาะอยู่มากที่สุดที่จะเป็นไปได้ หรืออีกนัยหนึ่งคือที่ปลายโอเมก้าจะมี 3 ไฮโดรเจน (CH3-) และแต่ละคาร์บอนในสายโซ่จะมี 2 ไฮโดรเจน (-CH2-)

กรดอะมิโน (อังกฤษ: amino acid) คือ ชีวโมเลกุลที่มีทั้งหมู่ฟังก์ชันอะมิโนและคาร์บอกซิลเป็นส่วนประกอบ กรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ในวิชาชีวเคมี คำว่า "กรดอะมิโน" มักหมายความถึงกรดอะมิโนแบบแอลฟา (alpha animo acids) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่ทั้งหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิลติดอยู่กับคาร์บอนอะตอมเดียวกัน เรียกว่า α-คาร์บอน

เรซิดีวของกรดอะมิโน (amino acid residue) คือกรดอะมิโนที่ถูกดึงโมเลกุลของน้ำออกไปหนึ่งโมเลกุล (ไฮโดรเจนไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่อะมิโน และไฮดรอกไซด์ไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่คาร์บอกซิล) เรซิดีวของกรดมักเกิดขึ้นในขณะสร้างพันธะเปปไทด์